หลักนิติภาษิต บันทึกโดย หลวงสกล สัตยาทร / สวัสดิการของประชาชนเป็นกฎหมายสูงสุด......ผู้ใดมาขอความยุติธรรม ผู้นั้นต้องมาด้วยมือสะอาด..... ผู้ใดละเมิดกฎหมาย จะแสวงหาความช่วยเหลือจากบทกฎหมายย่อมไม่บังเกิดผล.....จากมูลเหตุอันไร้ศีลธรรม ย่อมไม่เกิดสิทธิแห่งการเรียกร้อง..... อาชญากรรมยังผลให้ทุกสิ่งที่เกิดขึ้นจากการนั้นไร้ผล....กฎหมายไม่บังคับในสิ่งที่เป็นไปไม่ได้หรือพ้นวิสัย.....บทกฎหมายให้ความช่วยเหลือผู้ที่ระวัง แต่ไม่ช่วยเหลือผู้ที่นอนหลับ.....ทุกสิ่งต้องสันนิษฐานว่าถูกต้องตามกฎหมายแล้ว เว้นแต่จะพิสูจน์ได้ความตรงข้าม..... กฎหมายไม่ต้องการให้พิสูจน์สิ่งซึ่งชัดแจ้งต่อศาลแล้ว.....ถ้อยคำที่ชัดเจนอยู่แล้วไม่ต้องการคำอธิบาย.....การตีความในกฎหมายย่อมจะไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย..... เมื่อข้อความใดเคลือบคลุม ในการตีความต้องละเว้นสิ่งที่ไร้ผลและสิ่งที่เป็นไปไม่ได้.....ในเมื่อถ้อยคำนั้นตีความหมายไม่ได้เป็นสองนัยแล้ว ก็ไม่ควรให้มีการแปลความหมายที่ตรงกันข้ามกับถ้อยคำที่แท้จริงนั้น ..... ท่านต้องไม่ทำให้ถ้อยคำในตัวบทกฎหมายแตกต่างหรือผันแปรไป....หลักการตีความหมายควรถือหลักเสรี และควรให้ถ้อยคำเป็นไปตามความตั้งใจ.....จะต้องเข้าใจถ้อยคำไปในทางที่จะให้วัตถุประสงค์นั้นเป็นผลสำเร็จ ไม่ใช่เสียผล.....การตีความในกฎหมายย่อมจะไม่ก่อให้เกิดความเสียหาย....ในการตีความหมายในสัญญาควรต้องเพ่งเล็งเจตนาของคู่สัญญายิ่งกว่าถ้อยคำที่ใช้อยู่....กฎหมายไม่บังคับให้ผู้ใดปรักปรำตนเองหรือให้หลักฐานเป็นปรปักษ์แก่ตน....ในทางอาชญากรรมย่อมมุ่งถึงเจตนา ไม่ใช่ผลของการกระทำ...ไม่มีผู้ใดต้องถูกลงโทษเนื่องจากความคิด....เพียงแต่การกระทำเท่านั้นยังไม่ทำให้ผู้กระทำมีความผิดเว้นแต่จะได้กระทำโดยเจตนาที่ผิด....ผู้สำคัญผิดไม่ได้ถือว่าให้ความยินยอม.....ถือเอาตามน้ำหนักของพยาน ไม่ใช่จำนวนพยาน.....คำรับสารภาพที่รับต่อศาลย่อมมีน้ำหนักว่าการพิสูจน์อย่างอื่น.....เมื่อความเห็นเท่ากันจำเลยย่อมถูกยกฟ้อง ....ดุลยพินิจคือการวินิจฉัยโดยอาศัยหลักกฎหมายว่าอะไรยุติธรรม.....คำพิพากษาของตุลาการที่ตัดสินเกินอำนาจย่อมไม่มีผล....การจัดการให้เป็นไปตามกฎหมายอย่างเคร่งครัดที่สุดทีทำให้เกิดความอยุติธรรมมากที่สุดได้

ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง


สารบัญชื่อมาตรา
ประมวลกฎหมายวิธีพิจารณาความแพ่ง
แก้ไขเพิ่มเติม พ.ศ. ๒๕๖๒



---------------------------------------------------------------------------------------------------
---คลิกที่เลขมาตรา เพื่อดูตัวบท หลักกฎหมายและแนวคำพิพากษาศาลฎีกา---
-----------------------------------------------------------------------------------------------------
ภาค ๑
บททั่วไป
ลักษณะ ๑ 
บทวิเคราะห์ศัพท์
มาตรา ๑ คำนิยาม      
ลักษณะ ๒
ศาล
หมวด ๑ เขตอำนาจศาล (มาตรา ๒ ๑๐)
มาตรา๒ ศาลที่มีอำนาจพิจารณาพิพากษาคดี
มาตรา๓ ศาลที่มีเขตอำนาจ
มาตรา๔ ศาลที่มีเขตอำนาจ (กรณีทั่วไป)
มาตรา๔ ทวิ คำฟ้องเกี่ยวด้วยอสังหาริมทรัพย์
มาตรา๔ ตรี คำฟ้องกรณีพิเศษ
มาตรา๔ จัตวา คำร้องขอแต่งตั้งผู้จัดการมรดก
มาตรา๔ เบญจ คำร้องขอเกี่ยวกับนิติบุคคล
มาตรา๔ ฉ คำร้องขอเกี่ยวกับทรัพย์สินที่อยู่ในราชอาณาจักร
มาตรา๕ ศาลที่มีอำนาจมีหลายศาล
มาตรา๖ การโอนคดี
มาตรา ๖/๑ การโอนคดีที่ผลของคดีอาจกระทบต่อฯ
มาตรา๗ คำฟ้องหรือคำร้องขอที่เกี่ยวเนื่องกับคดีเดิม
มาตรา๘ การรวมคดีในศาลชั้นต้น
มาตรา๙ การรวมคดีในชั้นอุทธรณ์
มาตรา๑๐ การไม่สามารถดำเนินคดีในศาลที่มีอำนาจ
หมวด ๒ การคัดค้าน ผู้พิพากษา (มาตรา ๑๑ ๑๔)
มาตรา๑๑ เหตุคัดค้านผู้พิพากษาหลายนาย
มาตรา๑๒ เหตุคัดค้านผู้พิพากษานายเดียว
มาตรา๑๓ การคัดค้านผู้พิพากษา
มาตรา๑๔ ผู้พิพากษาที่ถูกคัดค้านไม่ยอมถอนตัว
หมวด ๓ อำนาจหน้าที่ของศาล (มาตรา ๑๕ ๓๔/๑)
มาตรา๑๕ การใช้อำนาจนอกเขตศาล
มาตรา๑๖ การส่งประเด็น
มาตรา๑๗ ลำดับการดำเนินคดี
มาตรา๑๘ การตรวจคำคู่ความ
มาตรา๑๙ การสั่งให้ตัวความมาศาล
มาตรา๒๐ การไกล่เกลี่ย
มาตรา๒๐ ทวิ วิธีการไกล่เกลี่ย
มาตรา๒๑ การพิจารณาคำขอและคำแถลง
มาตรา๒๒ การคำนวณระยะเวลา
มาตรา๒๓ การขยายหรือย่นระยะเวลา
มาตรา๒๔ การชี้ขาดเบื้องต้นในปัญหาข้อกฎหมาย
มาตรา๒๕  การสั่งคำร้องคำขอเกี่ยวกับวิธีการชั่วคราวและการบังคับคดี
มาตรา๒๖ การคัดค้านข้อความ คำสั่ง คำชี้ขาดของศาล
มาตรา๒๗ กระบวนพิจารณาที่ผิดระเบียบ
มาตรา๒๘ วรรค ๑ การรวมพิจารณาคดี
               วรรค ๒ การโอนคดี
มาตรา๒๙ การแยกคดี
มาตรา๓๐ การออกข้อกำหนดของศาล
มาตรา๓๑ ความผิดฐานละเมิดอำนาจศาล
มาตรา๓๒ ละเมิดอำนาจศาลกรณีโฆษณา
มาตรา๓๓ โทษฐานละเมิดอำนาจศาล
มาตรา๓๔ การดำเนินกระบวนพิจารณาในประเทศ
มาตรา๓๔/๑ ให้ประธานศาลฎีกามีอำนาจออกข้อกำหนด
หมวด ๔ การนั่งพิจารณา  (มาตรา ๓๕ ๔๕)
มาตรา๓๕ สถานที่และวันเวลาที่นั่งพิจารณาคดี
มาตรา๓๖ การนั่งพิจารณาคดี
มาตรา๓๗ การนั่งพิจารณาคดีติดต่อกัน
มาตรา๓๘ การเลื่อนคดีโดยศาลเอง
มาตรา๓๙ การเลื่อนคดีโดยตรง
มาตรา๔๐ คู่ความขอเลื่อนคดีเพราะเหตุจำเป็น
มาตรา๔๑ การเลื่อนคดีเพราะเหตุเจ็บป่วย
มาตรา๔๒ คู่ความมรณะ
มาตรา๔๓ การขอเข้ามาเป็นคู่ความแทนที่ผู้มรณะ
มาตรา๔๔ การเรียกบุคคลเข้ามาแทนที่คู่ความมรณะ
มาตรา๔๕ วรรค ๑ คู่ความเป็นผู้ไร้ความสามารถหรือผู้แทนมรณะหรือหมดอำนาจ
               วรรค ๒ ผู้แทนหรือทนายความมรณะหรือหมดอำนาจ
หมวด ๕ รายงานและสำนวนความ (มาตรา ๔๖ ๕๔)
มาตรา๔๖ วรรค ๑ ลักษณะและข้อบังคับของสำนวนความ
              วรรค ๒ การจัดทำคำแปลเอกสารภาษาต่างประเทศ
              วรรค ๓ การจัดหาล่าม
มาตรา๔๗ ใบมอบอำนาจ
มาตรา๔๘ รายงานกระบวนพิจารณา
มาตรา๔๙ รายงานของศาลเป็นพยานหลักฐานเบื้องต้น
มาตรา๕๐ การลงลายมือชื่อรับรู้รายงานหรือเอกสาร
มาตรา๕๑ การลงสารบบและการรักษาสำนวนความ
มาตรา๕๒ การรักษาสำนวนคดีถึงที่สุด
มาตรา๕๓ สำนวนความสูญหาย
มาตรา๕๔ การขอตรวจหรือคัดสำนวนความ
ลักษณะ ๓
คู่ความ (มาตรา ๕๕ ๖๖)
มาตรา๕๕ อำนาจฟ้อง
มาตรา๕๖ การฟ้องคดีของผู้ไร้ความสามารถ
มาตรา๕๗ ร้องสอด
มาตรา๕๘ สิทธิของผู้ร้องสอด
มาตรา๕๙ คู่ความร่วม
มาตรา๖๐ การมอบอำนาจให้ดำเนินคดีแทน
มาตรา๖๑ การตั้งทนายความ
มาตรา๖๒ อำนาจของทนายความ
มาตรา๖๓ อำนาจการรับเงินหรือทรัพย์สินของทนายความ
มาตรา๖๔ การมอบฉันทะ
มาตรา๖๕ ทนายความถอนตน
มาตรา๖๖ การสอบสวนความเป็นผู้แทน
ลักษณะ ๔
การยื่นและส่งคำคู่ความและเอกสาร (มาตรา ๖๗ ๘๓ อัฏฐ)
มาตรา๖๗ รายการในคำคู่ความ
มาตรา๖๘ การยื่นและส่งคำคู่ความและเอกสารทางไปรษณีย์อิเล็กทรอนิกส์หรือสื่อเทคโนโลยีสารสนเทศ
มาตรา๖๙ การยื่นคำคู่ความหรือเอกสาร
มาตรา๗๐ การส่งคำคู่ความหรือเอกสาร
มาตรา๗๑ การยื่นคำให้การ
มาตรา๗๒ วรรค ๑ การยื่นคำร้องหรือคำแถลงการณ์  
               วรรค ๒ คำร้องอื่นๆ วรรค ๓ เอกสารอื่นๆ
มาตรา๗๓ การส่งโดยเจ้าพนักงานศาล
มาตรา๗๓ ทวิ การส่งไปรษณีย์ตอบรับ
มาตรา๗๔ วิธีปฏิบัติของเจ้าพนักงานศาลในการส่งคำคู่ความหรือเอกสาร
มาตรา๗๕ การส่งให้แก่ทนายความ
มาตรา๗๖ การไม่พบบุคคลที่จะส่ง
มาตรา๗๗ การส่งไปที่อื่นๆ
มาตรา๗๘ การวางคำคู่ความหรือเอกสาร
มาตรา๗๙ ปิดหมาย
มาตรา๘๐ หลักฐานในการส่ง
มาตรา๘๑ การส่งหมายเรียกพยาน
มาตรา๘๒ การส่งให้คู่ความหลายคน
มาตรา๘๓ การส่งล่วงหน้า
มาตรา๘๓ ทวิ จำเลยมีภูมิลำเนาหรือสำนักงานนอกราชอาณาจักร
มาตรา๘๓ ตรี การส่งกรณีอื่นนอกจากมาตรา ๘๓ ทวิ
มาตรา๘๓ จัตวา การส่งให้จำเลยนอกราชอาณาจักร
มาตรา๘๓ เบญจ วันที่การส่งมีผล (กรณีจำเลยหรือบุคคลภายนอกมีภูมิลำเนานอกราชอาณาจักร)
มาตรา๘๓ ฉ วันที่การส่งมีผล (กรณีจำเลยหรือตัวแทนประกอบกิจการในราชอาณาจักร)
มาตรา๘๓  สัตต การดำเนินการส่งให้จำเลยนอกราชอาณาจักร
มาตรา๘๓  อัฎฐ กรณีส่งตามมาตรา ๘๓ สัตต ไม่ได้
ลักษณะ ๕
พยานหลักฐาน
หมวด ๑ หลักทั่วไป (มาตรา ๘๔ ๑๐๕)
มาตรา๘๔ ข้อเท็จจริงที่ไม่ต้องนำสืบ
มาตรา๘๔/๑ ภาระการพิสูจน์
มาตรา๘๕ สิทธิในการนำพยานเข้าสืบ
มาตรา๘๖ อำนาจศาลในการรับฟังพยานหลักฐาน
มาตรา๘๗ พยานหลักฐานที่ห้ามรับฟัง
มาตรา๘๘ บัญชีระบุพยาน
มาตรา๘๙ พิสูจน์ต่อพยาน
มาตรา๙๐ การยื่นและการส่งสำเนาพยานเอกสาร
มาตรา๙๑ พยานหลักฐานร่วมกัน
มาตรา๙๒ เอกสิทธิของคำเบิกความหรือพยานหลักฐาน
มาตรา๙๓ รับฟังได้แต่ต้นฉบับพยานหลักฐาน
มาตรา๙๔ สืบพยานบุคคลแทนหรือแก้ไขเพิ่มเติมพยานเอกสาร
มาตรา๙๕ พยานบุคคลที่รับฟังได้
มาตรา๙๕/๑ พยานบอกเล่า
มาตรา๙๖ พยานหูหนวกหรือเป็นใบ้
มาตรา ๙๗ อ้างคู่ความเป็นพยาน
มาตรา ๙๘ พยานผู้เชี่ยวชาญ
มาตรา ๙๙ การตรวจบุคคล วัตถุ สถานที่ และการแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญ
มาตรา ๑๐๐ การขอให้คู่ความอีกฝ่ายรับข้อเท็จจริง
มาตรา ๑๐๑ การสืบพยานไว้ล่วงหน้า
มาตรา ๑๐๑/๑ สืบพยานไว้ก่อนกรณีฉุกเฉิน
มาตรา ๑๐๑/๒ เงื่อนไขหรือหลักประกันในการอนุญาต
มาตรา ๑๐๒ วรรค ๑ ศาลที่ทำการสืบพยาน
                วรรค ๒  การส่งประเด็น
                วรรค ๓  การตามประเด็น
มาตรา ๑๐๓ หลักฟังความสองฝ่าย
มาตรา ๑๐๓/๑ สืบพยานแทนศาล
มาตรา ๑๐๓/๒ คู่ความตกลงเรื่องวิธีสืบพยาน
มาตรา ๑๐๓/๓ ข้อกำหนดการนำสืบพยานหลักฐาน
มาตรา ๑๐๔ การชั่งน้ำหนักพยานหลักฐาน
มาตรา ๑๐๕ ความรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมเกี่ยวกับพยานหลักฐานอันไม่จำเป็น
หมวด ๒ ว่าด้วยเรื่องการมาศาลของพยานและการซักถามพยาน (มาตรา ๑๐๖ ๑๒๑)
มาตรา ๑๐๖ หมายเรียกพยาน
มาตรา ๑๐๖/๑ พยานที่ออกหมายเรียกไม่ได้
มาตรา ๑๐๗ การเดินเผชิญสืบ
มาตรา ๑๐๘ พยานต้องไปศาล
มาตรา ๑๐๙ พยานบุคคลที่เบิกความแล้ว
มาตรา ๑๑๐ พยานไม่ไปศาล
มาตรา ๑๑๑ พยานที่ไม่ไปศาลเป็นพยานสำคัญ
มาตรา ๑๑๒ สาบานตนก่อนเข้าเบิกความ
มาตรา ๑๑๓ ต้องเบิกความด้วยวาจา
มาตรา ๑๑๔ ห้ามเบิกความต่อหน้าพยาน
มาตรา ๑๑๕ พยานที่ไม่ต้องเบิกความ
มาตรา ๑๑๖ ผู้ถามพยาน
มาตรา ๑๑๗ การถามพยาน
มาตรา ๑๑๘ ข้อห้ามในการถามพยาน
มาตรา ๑๑๙  วรรค ๑ อำนาจศาลในการถามพยานเพิ่มเติม
                 วรรค ๒ อำนาจศาลในการถามพยานเพิ่มเติมกรณีพยานเบิกความขัดกัน
มาตรา ๑๒๐ การพิสูจน์ต่อพยานหลักฐาน
มาตรา ๑๒๐/๑ บันทึกถ้อยคำแทนการซักถามพยาน
มาตรา ๑๒๐/๒ บันทึกถ้อยคำของผู้มีถิ่นที่อยู่ในต่างประเทศ
มาตรา ๑๒๐/๓ รายการในบันทึกถ้อยคำ
มาตรา ๑๒๐/๔ การสืบพยานโดยใช้ระบบการประชุมทางจอภาพ
มาตรา ๑๒๑ การอ่านคำเบิกความและลงลายมือชื่อ
หมวด ๓ การนำพยานเอกสารมาสืบ  (มาตรา ๑๒๒ ๑๒๗ ทวิ)
มาตรา ๑๒๒  ต้องนำต้นฉบับพยานเอกสารมาสืบ
มาตรา ๑๒๓ ต้นฉบับเอกสารไม่อยู่ในความครอบครอง
มาตรา ๑๒๔ ผลของการไม่นำต้นฉบับมาสืบ
มาตรา ๑๒๕ การคัดค้านพยานเอกสาร
มาตรา ๑๒๖ การชี้ขาดความถูกต้องแท้จริงของเอกสาร
มาตรา ๑๒๗ ข้อสันนิษฐานความถูกต้องแท้จริงของพยานเอกสาร
มาตรา ๑๒๗ ทวิ การรับคืนต้นฉบับพยานเอกสารหรือพยานวัตถุ
หมวด ๔ การตรวจและการแต่งตั้งผู้เชี่ยวชาญโดยศาล (มาตรา ๑๒๘ ๑๓๐)
มาตรา ๑๒๘ การตรวจพยานหลักฐาน
มาตรา ๑๒๘/๑ พยานหลักฐานทางวิทยาศาสตร์
มาตรา ๑๒๙ พยานหลักฐานผู้เชี่ยวชาญ
มาตรา ๑๓๐ การแสดงความเห็นของผู้เชี่ยวชาญ
ลักษณะ ๖
คำพิพากษาและคำสั่ง
หมวด ๑ หลักทั่วไปว่าด้วยการตัดสินคดี (มาตรา ๑๓๑ - ๑๓๙)
มาตรา ๑๓๑ การวินิจฉัยชี้ขาดคดี
มาตรา ๑๓๒ การจำหน่ายคดี
มาตรา ๑๓๓ กรณีที่ไม่จำหน่ายคดี
มาตรา ๑๓๔ ศาลมีหน้าที่ชี้ขาดคดี
มาตรา ๑๓๕ จำเลยวางเงินต่อศาล
มาตรา ๑๓๖ จำเลยวางเงินต่อศาลโดยยอมรับหรือไม่ยอมรับผิด
มาตรา ๑๓๗ จำเลยยอมชำระหนี้อย่างอื่น
มาตรา ๑๓๘ การประนีประนอมยอมความ
มาตรา ๑๓๙ การพิพากษาคดีที่พิจารณาคดี
หมวด ๒ ข้อความและผลแห่งคำพิพากษาหรือคำสั่ง  (มาตรา ๑๔๐ ๑๔๘)
มาตรา ๑๔๐ การทำและอ่านคำพิพากษา
มาตรา ๑๔๑ รายการในคำพิพากษาหรือคำสั่ง
มาตรา ๑๔๒ ต้องพิพากษาตามคำฟ้อง
มาตรา ๑๔๓ การแก้ไขคำพิพากษาหรือคำสั่ง
มาตรา ๑๔๔ การดำเนินกระบวนพิจารณาซ้ำ
มาตรา ๑๔๕ ผลผูกพันของคำพิพากษา
มาตรา ๑๔๖ คำพิพากษาหรือคำสั่งถึงที่สุด
มาตรา ๑๔๗ คำพิพากษาหรือคำสั่งถึงที่สุด
มาตรา ๑๔๘ ฟ้องซ้ำ
หมวด ๓ ค่าฤชาธรรมเนียม
ส่วนที่ ๑ การกำหนดและการชำระค่าฤชาธรรมเนียมและการยกเว้นค่าฤชาธรรมเนียมศาล  (มาตรา ๑๔๙  - ๑๖๐)
มาตรา ๑๔๙ ค่าฤชาธรรมเนียม
มาตรา ๑๕๐ ค่าขึ้นศาล
มาตรา ๑๕๑ การคืนค่าขึ้นศาล
มาตรา ๑๕๒ การชำระค่าฤชาธรรมเนียม
มาตรา ๑๕๓ ค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี
มาตรา ๑๕๓/๑ วิธีการและอัตราในการชำระ
มาตรา ๑๕๔ เจ้าหนี้วางเงินและค่าใช้จ่าย
มาตรา ๑๕๕ การขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล
มาตรา ๑๕๖ วิธีการขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล
มาตรา ๑๕๖/๑ การพิจารณาการขอยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล
มาตรา ๑๕๗ ค่าธรรมเนียมศาลที่ได้รับการยกเว้น
มาตรา ๑๕๘ กรณีคู่ความอีกฝ่ายหนึ่งต้องรับผิดชำระค่าฤชาธรรมเนียมทั้งสองฝ่าย
มาตรา ๑๕๙ ผู้ที่ได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล มีความสามารถเสียค่าธรรมเนียมได้
มาตรา ๑๖๐ การถอนอนุญาตการได้รับยกเว้นค่าธรรมเนียมศาล
ส่วนที่ ๒ ความรับผิดชั้นที่สุดในค่าฤชาธรรมเนียม  (มาตรา ๑๖๑ - ๑๖๙/๓)
มาตรา ๑๖๑ ความรับผิดชั้นที่สุดในค่าฤชาธรรมเนียม
มาตรา ๑๖๒ กรณีโจทก์ร่วมหรือจำเลยร่วม
มาตรา ๑๖๓ กรณีพิพากษาตามยอม
มาตรา ๑๖๔ กรณีจำเลยวางเงินต่อศาล
มาตรา ๑๖๕ กรณีจำเลยชำระหนี้ตามมาตรา ๑๓๗
มาตรา ๑๖๖ ค่าฤชาธรรมเนียมที่ไม่จำเป็น
มาตรา ๑๖๗ ศาลต้องสั่งเรื่องค่าฤชาธรรมเนียมในคำพิพากษา
มาตรา ๑๖๘ การอุทธรณ์ฎีกาเรื่องค่าฤชาธรรมเนียม
มาตรา ๑๖๙ บัญชีแสดงค่าฤชาธรรมเนียม
มาตรา ๑๖๙/๑ การบังคับคดีเพื่อชำระค่าฤชาธรรมเนียมที่ค้าง
มาตรา ๑๖๙/๒ ความรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับคดี
มาตรา ๑๖๙/๓ ค่าฤชาธรรมเนียมการบังคับคดีที่ไม่จำเป็น
ภาค ๒
วิธีพิจารณาในศาลชั้นต้น
ลักษณะ ๑
วิธีพิจารณาสามัญในศาลชั้นต้น (มาตรา ๑๗๐ - ๑๘๘)
มาตรา ๑๗๐ ต้องดำเนินคดีครั้งแรกในศาลชั้นต้น
มาตรา ๑๗๑ คำร้องขอ
มาตรา ๑๗๒ คำฟ้อง
มาตรา ๑๗๓ วรรค ๑ การส่งสำเนาคำฟ้องให้จำเลยแก้คดี
                วรรค ๒ (๑) ฟ้องซ้อน
                           (๒) มีเหนุเปลี่ยนแปลงเกี่ยวกับอำนาจศาล
มาตรา ๑๗๔ ทิ้งฟ้อง
มาตรา ๑๗๕ ถอนฟ้อง
มาตรา ๑๗๖ ผลของการถอนฟ้องหรือทิ้งฟ้อง
มาตรา ๑๗๗ วรรค ๑ กำหนดเวลายื่นคำให้การ
                 วรรค ๒ การทำคำให้ศาล
                 วรรค ๓ ฟ้องแย้ง
                 วรรค ๔ ศาลตรวจคำให้การ
                 วรรค ๓ ให้ใช้บังคับแก่ผู้ร้องสอด
มาตรา ๑๗๘ คำให้การแก้ฟ้องแย้ง
มาตรา ๑๗๙ การแก้ไขคำฟ้องหรือคำให้การ
มาตรา ๑๘๐ กำหนดเวลาแก้ไขคำฟ้องหรือคำให้การ
มาตรา ๑๘๑ การพิจารณาของศาล
มาตรา ๑๘๒ การชี้สองสถาน
มาตรา ๑๘๓ การดำเนินกระบวนพิจารณาในวันชี้สองสถาน
มาตรา ๑๘๓ ทวิ คู่ความไม่มาศาลในวันชี้สองสถาน
มาตรา ๑๘๔ กำหนดวันสืบพยาน
มาตรา ๑๘๕ วันนัดสืบพยานนัดแรก
มาตรา ๑๘๖ แถลงการณ์ปิดคดี
มาตรา ๑๘๗ การพิจารณาสิ้นสุด
มาตรา ๑๘๘ คดีไม่มีข้อพิพาท
ลักษณะ ๒
วิธีพิจารณาวิสามัญในศาลชั้นต้น
หมวด ๑ วิธีพิจารณาคดีมโนสาเร่  (มาตรา ๑๘๙ - ๑๙๖)
มาตรา ๑๘๙ คำนิยามคดีมโนสาเร่
มาตรา ๑๙๐ จำนวนทุนทรัพย์หรือราคาอันพิพาทในคดีมโนสาเร่
มาตรา ๑๙๐ ทวิ การดำเนินกระบวนพิจารณาคดีมโนสาเร่
มาตรา ๑๙๐ ตรี คำสั่งขยายหรือย่นระยะเวลา
มาตรา ๑๙๐ จัตวา ค่าขึ้นศาล
มาตรา ๑๙๑ วิธีฟ้องคดีมโนสาเร่
มาตรา ๑๙๒ คดีที่ฟ้องไม่ใช่คดีมโนสาเร่
มาตรา ๑๙๓ กำหนดวันนัดพิจารณาและหมายเรียกจำเลย
มาตรา ๑๙๓ ทวิ วรรค ๑ โจทก์ขาดนัดพิจารณา
                     วรรค ๒ จำเลยขาดนัดพิจารณา
มาตรา ๑๙๓ ตรี บัญชีระบุพยานและกำหนดวันนัดสืบพยาน
มาตรา ๑๙๓ จัตวา การสืบพยาน
มาตรา ๑๙๓ เบญจ ศาลนั่งพิจารณาคดีติดต่อกันไป
มาตรา ๑๙๔ คำพิพากษาหรือคำสั่งด้วยวาจา
มาตรา ๑๙๕ การนำวิธีพิจารณาสามัญมาใช้
มาตรา ๑๙๖ คดีไม่มีข้อยุ่งยาก
หมวด ๒ การพิจารณาโดยขาดนัด
ส่วนที่ ๑ ขาดนัดยื่นคำให้การ (มาตรา ๑๙๗ ๒๐๙)
มาตรา ๑๙๗ ขาดนัดยื่นคำให้การ
มาตรา ๑๙๘ โจทก์ขอพิจารณาคดีฝ่ายเดียว
มาตรา ๑๙๘ ทวิ คำพิพากษาหรือคำสั่งของศาล เมื่อจำเลยขาดนัด ยื่นคำให้การ
มาตรา ๑๙๘ ตรี คดีมีจำเลยหลายคนและจำเลยบางคนขาดนัดยื่นคำให้การ
มาตรา ๑๙๙ จำเลยขออนุญาตยื่นคำให้การ
มาตรา ๑๙๙ ทวิ การบังคับคดีที่ขาดนัดยื่นคำให้การ
มาตรา ๑๙๙ ตรี ขอให้พิจารณาคดีใหม่ภายหลังมีคำพิพากษา
มาตรา ๑๙๙ จัตวา วิธีการขอให้พิจารณาคดีใหม่
มาตรา ๑๙๙ เบญจ การพิจารณาคำขอให้พิจารณาคดีใหม่
มาตรา ๑๙๙ ฉ โจทก์ไม่ได้ให้การแก้คำฟ้องแย้ง
ส่วนที่ ๒ การขาดนัดพิจารณา (มาตรา ๑๙๗ - มาตรา ๒๐๗)
มาตรา ๒๐๐ วรรค ๑ ขาดนัดพิจารณา
                 วรรค ๒ ขาดนัดกรณีอื่นๆ
มาตรา ๒๐๑ คู่ความทั้งสองฝ่ายขาดนัดพิจารณา
มาตรา ๒๐๒ โจทก์ขาดนัดพิจารณา
มาตรา ๒๐๓ ห้ามโจทก์ที่ขาดนัดพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งจำหน่ายคดี
มาตรา ๒๐๔ จำเลยขาดนัดพิจารณา
มาตรา ๒๐๕ ศาลสงสัยว่าส่งหมายนัดสืบพยานไม่ชอบ
มาตรา ๒๐๖ วรรค ๑ การวินิจฉัยชี้ขาดคดี
                วรรค ๒ การขอให้พิจารณาคดีใหม่ก่อนมีคำพิพากษา
                วรรค ๓ การพิจารณาคดีหลังจากศาลไม่อนุญาตให้พิจารณาคดีใหม่
มาตรา ๒๐๗ ขอให้พิจารณาคดีใหม่ภายหลังมีคำพิพากษา
หมวด ๓ อนุญาโตตุลาการ (มาตรา ๒๑๐ - มาตรา ๒๒๒)
มาตรา ๒๑๐ การตั้งอนุญาโตตุลาการ
มาตรา ๒๑๑ หลักเกณฑ์การตั้งอนุญาโตตุลาการ
มาตรา ๒๑๒ ความยินยอมของอนุญาโตตุลาการ
มาตรา ๒๑๓ วรรค ๑ การถอนอนุญาตโตตุลาการ
                 วรรค ๒ การคัดค้านอนุญาโตตุลาการ
มาตรา ๒๑๔ ค่าธรรมเนียม
มาตรา ๒๑๕ การกำหนดประเด็นข้อพิพาท
มาตรา ๒๑๖ การนั่งพิจารณา
มาตรา ๒๑๗ การออกเสียงชี้ขาด
มาตรา ๒๑๘ คำชี้ขาด
มาตรา ๒๑๙ ข้อตกลงอนุญาโตตุลาการสิ้นสุด
มาตรา ๒๒๐ การเสนอให้ศาลชี้ขาดข้อพิพาท
มาตรา ๒๒๑ อนุญาโตตุลาการนอกศาล
มาตรา ๒๒๒ การอุทธรณ์คำสั่งศาลเกี่ยวกับคำชี้ขาดของอนุญาโตตุลาการ
หมวด ๔ การดำเนินคดีแบบกลุ่ม
ส่วนที่ ๑ บททั่วไป (มาตรา ๒๒๒/๑ ๒๒๒/๗)
มาตรา ๒๒๒/๑ บทนิยาม
มาตรา ๒๒๒/๒ ประธานศาลฎีกามีอำนาจออกข้อกำหนดในการดำเนินคดีแบบกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๓ ศาลที่มีอำนาจในการดำเนินคดีแบบกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๔ การนำ ป.วิ.แพ่ง มาใช้ในการดำเนินคดีแบบกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๕ เจ้าพนักงานคดีแบบกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๖ คุณสมบัติเจ้าพนักงานคดีแบบกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๗ คดีแพ่งเกี่ยวเนื่องกับคดีอาญาในการดำเนินคดีแบบกลุ่ม
ส่วนที่ ๒ การขออนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่ม (มาตรา ๒๒๒/๘ ๒๒๒/๑๓)
มาตรา ๒๒๒/๘ คดีที่อาจร้องขอให้ดำเนินคดีแบบกลุ่มได้
มาตรา ๒๒๒/๙ การร้องขอให้ดำเนินคดีแบบกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๑๐ การทำคำฟ้องดำเนินคดีแบบกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๑๑ การอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๑๒ การพิจารณาและหลักเกณฑ์การอนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๑๓ การรวมการพิจารณาคำร้องขอให้พิจารณาคดีแบบกลุ่ม
ส่วนที่ ๓ การพิจารณาคดีแบบกลุ่ม (มาตรา ๒๒๒/๑๔ ๒๒๒/๓๔)
มาตรา ๒๒๒/๑๔ การสั่งให้โจทก์นำเงินค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดีแบบกลุ่มมาวางศาล
มาตรา ๒๒๒/๑๕ การส่งคำบอกกล่าวและการประกาศคำสั่งอนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่มให้สมาชิก                                       กลุ่มทราบ
มาตรา ๒๒๒/๑๖ การออกจากการเป็นสมาชิกกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๑๗ สิทธิของสมาชิกกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๑๘ ห้ามสมาชิกกลุ่มฟ้องซ้ำ
มาตรา ๒๒๒/๑๙ ไม่มีความจำเป็นที่จะดำเนินคดีแบบกลุ่มอีกต่อไป
มาตรา ๒๒๒/๒๐ กระบวนการพิจารณาภายหลังศาลอนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่มและจำเลยยื่นคำให้การแล้ว
มาตรา ๒๒๒/๒๑ การยื่นบัญชีระบุพยานในการดำเนินคดีแบบกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๒๒ การขาดนัดยื่นคำให้การและการขาดนัดพิจารณาในการดำเนินคดีแบบกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๒๓ ให้ศาลมีอำนาจแสวงหาข้อเท็จจริงเพิ่มเติมได้
มาตรา ๒๒๒/๒๔ การแบ่งกลุ่มย่อย
มาตรา ๒๒๒/๒๕ การขอให้สมาชิกกลุ่มยื่นคำขอเข้าแทนที่โจทก์
มาตรา ๒๒๒/๒๖ การอนุญาตให้สมาชิกกลุ่มเข้าแทนที่โจทก์
มาตรา ๒๒๒/๒๗ ข้อห้ามมิให้สมาชิกกลุ่มที่เข้าแทนที่โจทก์ใช้สิทธิ
มาตรา ๒๒๒/๒๘ การถอนฟ้องในการดำเนินคดีแบบกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๒๙ การตกลงกันหรือประนีประนอมยอมความ
มาตรา ๒๒๒/๓๐ การเสนอข้อพิพาทให้อนุญาโตตุลาการชี้ขาด
มาตรา ๒๒๒/๓๑ รายละเอียดของคำบอกกล่าวและประกาศ
มาตรา ๒๒๒/๓๒ การพิจารณามีคำสั่งตามมาตรา ๒๒๒/๒๘, ๒๒๒/๒๙, ๒๒๒/๓๐
มาตรา ๒๒๒/๓๓ ผลเกี่ยวกับอายุความในกรณีที่ศาลมีคำสั่งถึงที่สุดอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ดำเนินคดีแบบกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๓๔ กรณีที่ถือว่าอายุความไม่สะดุดหยุดลง
ส่วนที่ ๔ คำพิพากษาและการบังคับคดี (มาตรา ๒๒๒/๓๕ ๒๒๒/๔๔)
มาตรา ๒๒๒/๓๕ ผลของคำพิพากษาและการบังคับคดีในการดำเนินคดีแบบกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๓๖ รายการที่ต้องแสดงในคำพิพากษา
มาตรา ๒๒๒/๓๗ เงินรางวัลของทนายความฝ่ายโจทก์
มาตรา ๒๒๒/๓๘ หลักเกณฑ์ วิธีการและเงื่อนไขในการปฏิบัติตามคำพิพากษา
มาตรา ๒๒๒/๓๙ แจ้งคำพิพากษาให้สมาชิกกลุ่มทราบ
มาตรา ๒๒๒/๔๐ โต้แย้งคำขอรับชำระหนี้
มาตรา ๒๒๒/๔๑ การสอบสวนในเรื่องคำขอรับชำระหนี้
มาตรา ๒๒๒/๔๒ อำนาจของเจ้าพนักงานบังคับคดีในกรณีมีและไม่มีผู้โต้แย้งขอชำระหนี้และการคัดค้านคำสั่ง                          ของเจ้าพนักงานบังคับคดี
มาตรา ๒๒๒/๔๓ คำขอเพื่อให้ศาลมีคำสั่งให้เฉลี่ยทรัพย์
มาตรา ๒๒๒/๔๔ การจ่ายเงินให้แก่ผู้มีสิทธิ
ส่วนที่ ๕ อุทธรณ์และฎีกา (มาตรา ๒๒๒/๔๕ ๒๒๒/๔๘)
มาตรา ๒๒๒/๔๕ การอุทธรณ์ฎีกาในการดำเนินคดีแบบกลุ่มไม่มีข้อจำกัดเรื่องทุนทรัพย์
มาตรา ๒๒๒/๔๖ สิทธิอุทธรณ์ฎีกาของสมาชิกกลุ่ม
มาตรา ๒๒๒/๔๗ กรณีจำเลยอุทธรณ์คำสั่งไม่รับอุทธรณ์หรือฎีกา
มาตรา ๒๒๒/๔๘ คดีที่ศาลชั้นต้นรับอุทธรณ์หรือฎีกา แต่ศาลอุทธรณ์หรือศาลฎีกาเห็นว่าต้องห้ามอุทธรณ์หรือ                           ฎีกา
ส่วนที่ ๖ ค่าธรรมเนียม (มาตรา ๒๒๒/๔๙)
มาตรา ๒๒๒/๔๙ อัตราค่าธรรมเนียม
ภาค ๓
อุทธรณ์และฎีกา
ลักษณะ ๑
อุทธรณ์ (มาตรา ๒๒๓ ๒๔๖)
มาตรา ๒๒๓ สิทธิในการอุทธรณ์
มาตรา ๒๒๓ ทวิ ยกเลิก
มาตรา ๒๒๔ คดีที่ห้ามอุทธรณ์ในปัญหาข้อเท็จจริง
มาตรา ๒๒๕ ข้อเท็จจริงหรือข้อกฎหมายที่ยกขึ้นอ้างในอุทธรณ์
มาตรา ๒๒๖ คำสั่งระหว่างพิจารณา
มาตรา ๒๒๗ กรณีที่ไม่ถือว่าเป็นคำสั่งระหว่างพิจารณา
มาตรา ๒๒๘ การอุทธรณ์คำสั่งที่ไม่ใช่คำสั่งระหว่างพิจารณา
มาตรา ๒๒๙ การยื่นอุทธรณ์
มาตรา ๒๓๐ การตรวจอุทธรณ์ในข้อเท็จจริง
มาตรา ๒๓๑ การทุเลาการบังคับคดี
มาตรา ๒๓๒ การตรวจอุทธรณ์
มาตรา ๒๓๓ การสั่งให้เสียค่าธรรมเนียมเพิ่มขึ้น
มาตรา ๒๓๔ การอุทธรณ์คำสั่งไม่รับอุทธรณ์
มาตรา ๒๓๕ คำแก้อุทธรณ์
มาตรา ๒๓๖ การพิจารณาอุทธรณ์คำสั่งไม่รับอุทธรณ์
มาตรา ๒๓๗ การยื่นคำแก้อุทธรณ์
มาตรา ๒๓๘ การพิจารณาข้อเท็จจริงกรณีอุทธรณ์ได้เฉพาะปัญหาข้อกฎหมาย
มาตรา ๒๓๙ อุทธรณ์คำสั่งต้องพิจารณาก่อนอุทธรณ์คำพิพากษา
มาตรา ๒๔๐ การพิจารณาคดีของศาลอุทธรณ์
มาตรา ๒๔๑ การขอแถลงการณ์ด้วยวาจาชั้นศาลอุทธรณ์
มาตรา ๒๔๒ การชี้ขาดตัดสินคดี
มาตรา ๒๔๓ อำนาจศาลอุทธรณ์
มาตรา ๒๔๔ การอ่านคำพิพากษา
มาตรา ๒๔๕ ผลของคำพิพากษาหรือคำสั่ง
มาตรา ๒๔๖ นำวิธีพิจารณาในศาลชั้นต้นมาใช้บังคับโดยอนุโลม
ลักษณะ ๒
ฎีกา (มาตรา ๒๔๗ ๒๕๒)
มาตรา ๒๔๗ การขออนุญาตฎีกา
มาตรา ๒๔๘ องค์คณะในการพิจารณาคำร้องขอฎีกา
มาตรา ๒๔๙ การอนุญาตให้ฎีกาและผลของคำสั่งไม่อนุญาต
มาตรา ๒๕๐ ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาในการยื่นและพิจารณาคำร้อง
มาตรา ๒๕๑ กรณีคำพิพากษาหรือคำสั่งของศาลอุทธรณ์ไม่ถูกต้อง
มาตรา ๒๕๒ ให้นำบทบัญญัติว่าอุทธรณ์มาใช้บังคับในชั้นฎีกา
ภาค ๔
วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษาหรือการบังคับตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
ลักษณะ ๑
วิธีการชั่วคราวก่อนพิพากษา
หมวด ๑ หลักทั่วไป (มาตรา ๒๕๓ ๒๖๕)
มาตรา ๒๕๓ จำเลยขอให้โจทก์วางเงินหรือหาประกันในศาลชั้นต้น
มาตรา ๒๕๓ ทวิ จำเลยขอให้โจทก์วางเงินหรือหาประกันในชั้นอุทธรณ์หรือฎีกา
มาตรา ๒๕๔ โจทก์ขอคุ้มครองชั่วคราว
มาตรา ๒๕๕ การพิจารณาคำขอคุ้มครองชั่วคราว
มาตรา ๒๕๖ จำเลยคัดค้านคำขอตามมาตรา ๒๕๔ (๒) หรือ (๓)
มาตรา ๒๕๗ ขอบเขตเงื่อนไขและวิธีดำเนินการของคำสั่งศาลตามมาตรา ๒๕๔
มาตรา ๒๕๘ ผลบังคับของคำสั่งคุ้มครองชั่วคราว
มาตรา ๒๕๘ ทวิ ผลของการฝ่าฝืนคำสั่งศาลตามมาตรา ๒๕๔
มาตรา ๒๕๙ นำเรื่องบังคับคดีมาใช้โดยอนุโลม (ส่วนใหญ่เป็นมาตรา ๒๙๐, ๓๐๕(๑), ๓๑๔(๑))
มาตรา ๒๖๐ ผลของวิธีการชั่วคราวเมื่อศาลพิพากษาคดี
มาตรา ๒๖๑ จำเลยหรือบุคคลภายนอกขอเพิกถอนหมายหรือคำสั่งตามมาตรา ๒๕๔
มาตรา ๒๖๒ ข้อเท็จจริงหรือพฤติการณ์เปลี่ยนแปลงไป
มาตรา ๒๖๓ จำเลยขอให้โจทก์ชดใช้ค่าสินไหมทดแทน
มาตรา ๒๖๔ คู่ความขอคุ้มครองประโยชน์ระหว่างพิจารณา
มาตรา ๒๖๕ การใช้วิธีการชั่วคราวกับกรณีที่ศาลยอมรับเอาบุคคลเป็นประกัน
หมวด ๒ คำขอในเหตุฉุกเฉิน  (มาตรา ๒๖๖ ๒๗๐)
มาตรา ๒๖๖ คำขอในเหตุฉุกเฉิน
มาตรา ๒๖๗ การพิจารณาคำขอในเหตุฉุกเฉิน
มาตรา ๒๖๘ อำนาจวินิจฉัยคำขอในเหตุฉุกเฉินและวิธีการที่จะนำมาใช้
มาตรา ๒๖๙ ผลบังคับของคำสั่งอนุญาตตามคำขอในเหตุฉุกเฉิน
มาตรา ๒๗๐ การใช้บังคับกับคำขออื่น
ลักษณะ ๒
การบังคับคดีตามคำพิพากษาหรือคำสั่ง
หมวด ๑ หลักทั่วไป
ส่วนที่ ๑ ศาลที่มีอำนาจในการบังคับคดี (มาตรา ๒๗๑)
มาตรา ๒๗๑ ศาลที่มีอำนาจในการบังคับคดี
ส่วนที่ ๒ คำบังคับ (มาตรา ๒๗๒ ๒๗๓)
มาตรา ๒๗๒ การออกคำบังคับ
มาตรา ๒๗๓ ลักษณะคำบังคับ
ส่วนที่ ๓ การขอบังคับคดี (มาตรา ๒๗๔ ๒๗๕)
มาตรา ๒๗๔ การขอบังคับคดี
มาตรา ๒๗๕ เจ้าหนี้ฯยื่นคำขอให้มีการบังคับคดี
ส่วนที่ ๔ การพิจารณาคำขอบังคับคดี (มาตรา ๒๗๖)
มาตรา ๒๗๖ วิธีการบังคับคดี
ส่วนที่ ๕ การขอให้ศาลไต่สวนเกี่ยวกับกิจการและทรัพย์สินของลูกหนี้ตามคำพิพากษา (มาตรา ๒๗๗)
มาตรา ๒๗๗ การไต่สวนหาทรัพย์สินของลูกหนี้
ส่วนที่ ๖ อำนาจทั่วไปของเจ้าพนักงานบังคับคดี (มาตรา ๒๗๘ ๒๘๖)
มาตรา ๒๗๘ ตั้งเจ้าพนักงานบังคับคดี
มาตรา ๒๗๙ หน้าที่เจ้าพนักงานบังคับคดีในการรักษาทรัพย์สิน
มาตรา ๒๘๐ เจ้าพนักงานบังคับคดีมีอำนาจส่งเอกสารเกี่ยวกับการบังคับคดี
มาตรา ๒๘๑ บังคับคดีในวันทำการงานปกติ
มาตรา ๒๘๒ ค้นสถานที่ของลูกหนี้ฯ
มาตรา ๒๘๓ ค้นสถานที่ของบุคคลอื่น
มาตรา ๒๘๔ การขอให้พนักงานฝ่ายปกครองหรือตำรวจช่วยเหลือ
มาตรา ๒๘๕ ความรับผิดกรณียึดอายัดทรัพย์สินโดยมิชอบหรือเกินกว่าจำเป็น และความรับผิดของเจ้าพนักงาน                   บังคับคดี
มาตรา ๒๘๖ นำ ป.วิ.แพ่ง.มาใช้กับการบังคับคดีของศาลอื่นที่ไม่ใช่ศาลยุติธรรม
ส่วนที่ ๗ ผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดี (มาตรา ๒๘๗ ๒๘๘)
มาตรา ๒๘๗ ผู้มีส่วนได้เสียในการบังคับคดี
มาตรา ๒๘๘ สิทธิของผู้มีส่วนได้เสีย
ส่วนที่ ๘ การงดบังคับคดี (มาตรา ๒๘๙ ๒๙๑)
มาตรา ๒๘๙ เหตุที่ให้เจ้าพนักงานบังคับคดีงดการบังคับคดี
มาตรา ๒๙๐ เหตุที่ลูกหนี้ของดการบังคับคดี
มาตรา ๒๙๑ การดำเนินการบังคับคดีต่อไป หลังจากมีการงดการบังคับคดี
ส่วนที่ ๙ การถอนการบังคับคดี  (มาตรา ๒๙๒ ๒๙๔)
มาตรา ๒๙๒ เหตุที่เจ้าพนักงานบังคับคดีถอนการบังคับคดี
มาตรา ๒๙๓ เจ้าหนี้เพิกเฉยไม่บังคับคดี
มาตรา ๒๙๔ การยึดทรัพย์สินที่มิใช่ตัวเงิน
ส่วนที่ ๑๐ การเพิกถอนหรือแก้ไขการบังคับคดีที่ผิดระเบียบ
มาตรา ๒๙๕ การเพิกถอน/แก้ไขการบังคับคดีผิดระเบียบ
หมวด ๒ การบังคับคดีกรณีที่เป็นหนี้เงิน
ส่วนที่ ๑ อำนาจของเจ้าพนักงานบังคับคดี (มาตรา ๒๙๖ ๓๐๐)
มาตรา ๒๙๖ การบังคับคดีกรณีชำระหนี้เงิน
มาตรา ๒๙๗  การบังคับเอากับทรัพย์สินของบุคคลอื่น
มาตรา ๒๙๘ ทรัพย์สินมีชื่อของบุคคลอื่นเป็นเจ้าของในทะเบียน
มาตรา ๒๙๙ บทคุ้มครองผู้มีชื่อเป็นเจ้าของทรัพย์สินในทะเบียน
มาตรา ๓๐๐ ห้ามยึดอายัดเกินกว่าพอจะชำระหนี้
ส่วนที่ ๒ ทรัพย์สินที่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งบังคับคดี (มาตรา ๓๐๑ ๓๐๒)
มาตรา ๓๐๑ ทรัพย์สินที่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
มาตรา ๓๐๒ เงินของลูกหนี้ที่ไม่อยู่ในความรับผิดแห่งการบังคับคดี
ส่วนที่ ๓ การยึดทรัพย์สิน (มาตรา ๓๐๓ ๓๑๕)
มาตรา ๓๐๓ วิธีการยึดสังหาริมทรัพย์มีรูปร่าง
มาตรา ๓๐๔ การยึดสังหาริมทรัพย์ที่ต้องจดทะเบียน
มาตรา ๓๐๕ การยึดหลักทรัพย์
มาตรา ๓๐๖ การยึดตั๋วเงิน/ตราสารเปลี่ยนมือ
มาตรา ๓๐๗ การยึดหุ้นในห้างหุ้นส่วนจำกัดหรือบริษัทจำกัด
มาตรา ๓๐๘ การยึดทรัพย์สินทางปัญญาที่จดทะเบียนไว้แล้ว
มาตรา ๓๐๙ การยึดทรัพย์สินทางปัญญาที่ยังมิได้จดทะเบียน
มาตรา ๓๑๐ การยึดสิทธิการเช่าหรือใช้บริการ
มาตรา ๓๑๑ การยึดใบอนุญาตประทานบัตร อาชญาบัตร สัมปทาน
มาตรา ๓๑๒ วิธีการยึดอสังหาริมทรัพย์
มาตรา ๓๑๓ การยึดทรัพยสิทธิเกี่ยวกับอสังหาริมทรัพย์
มาตรา ๓๑๔ ผลการยึดสังหาริมทรัพย์และอสังหาริมทรัพย์ย่อมครอบไปถึงดอกผล
มาตรา ๓๑๕ ผลของการยึดทรัพย์สิน
ส่วนที่ ๔ การอายัดสิทธิเรียกร้อง (มาตรา ๓๑๖ ๓๒๐)
มาตรา ๓๑๖ การอายัดสิทธิเรียกร้อง
มาตรา ๓๑๗ การอายัดอาจกระทำได้ไม่ว่าหนี้ที่เรียกร้องจะมีเงื่อนไขหรือไม่ก็ตาม
มาตรา ๓๑๘ การอายัดสิทธิเรียกร้องที่จะได้รับชำระหนี้เป็นคราว ๆ
มาตรา ๓๑๙ การอายัดที่มีจำนอง/จำนำ เป็นประกัน
มาตรา ๓๒๐ ผลของการอายัดสิทธิเรียกร้อง
ส่วนที่ ๕ การขอให้ศาลบังคับบุคคลภายนอกชำระหนี้ตามสิทธิเรียกร้อง (มาตรา  ๓๒๑)
มาตรา ๓๒๑ การบังคับให้บุคคลภายนอกชำระหนี้ตามสิทธิเรียกร้อง
ส่วนที่ ๖ สิทธิของบุคคลภายนอกและผู้มีส่วนได้เสียเกี่ยวกับทรัพย์สินที่ถูกบังคับคดี (มาตรา ๓๒๒    ๓๒๕)
มาตรา ๓๒๒ ผู้มีบุริมสิทธิเหนือทรัพย์สินที่ถูกบังคับคดีไม่ถูกกระทบกระเทือน
มาตรา ๓๒๓ การร้องขัดทรัพย์
มาตรา ๓๒๔ สิทธิของผู้มีบุริมสิทธิเหนือทรัพย์สิน และการบังคับคดีเอากับทรัพย์สินที่มีบุริมสิทธิ
มาตรา ๓๒๕ การร้องคัดค้านคำสั่งอายัด
ส่วนที่ ๗ การขอเฉลี่ยและการเข้าดำเนินการบังคับคดีต่อไป (มาตรา ๓๒๖ ๓๓๐)
มาตรา ๓๒๖ การขอเฉลี่ยทรัพย์
มาตรา ๓๒๗ เจ้าหนี้ผู้ขอเฉลี่ยขอเข้าบังคับคดีต่อ ในกรณีที่มีการถอนการบังคับคดี
มาตรา ๓๒๘ เจ้าหนี้ผู้ขอบังคับคดีต่อขอโอนการบังคับคดีไปยังศาลที่พิพากษาคดีของตน
มาตรา ๓๒๙ สิทธิของเจ้าหนี้ที่ไม่ได้ยื่นขอเฉลี่ย หรือขอเฉลี่ยไม่ทัน
มาตรา ๓๓๐ มีเจ้าหนี้อื่นขอบังคับคดีต่อแต่ยังเกิดการถอนการบังคับคดีอีก
ส่วนที่ ๘ การขอขายหรือจำหน่าย (มาตรา ๓๓๑ ๓๓๕)
มาตรา ๓๓๑ การขายทอดตลาด
มาตรา ๓๓๒ วิธีการขายทอดตลาด
มาตรา ๓๓๓ ขั้นตอนการขายและการคัดค้านการขายเพราะราคาต่ำเกินสมควร
มาตรา ๓๓๔ ผู้ซื้ออสังหาริมทรัพย์ขอให้ศาลออกคำบังคับให้ลูกหนี้ฯ และบริวารออกไปจาก                           อสังหาริมทรัพย์
มาตรา ๓๓๕ – เมื่อขายทรัพย์ที่มีทะเบียนได้แล้วเจ้าพนักงานบังคับคดีจะต้องแจ้งให้นายทะเบียนแก้ไขทะเบียน
                 - การขายห้องชุดในอาคารชุดและบ้านจัดสรร
ส่วนที่ ๙ การตั้งผู้จัดการอสังหาริมทรัพย์หรือการประกอบ กิจการแทนการขายหรือจำหน่าย (มาตรา ๓๓๖)
มาตรา ๓๓๖ การตั้งผู้จัดการอสังหาริมทรัพย์หรือผู้จัดการกิจการ
ส่วนที่ ๑๐ การทำบัญชีส่วนเฉลี่ย (มาตรา ๓๓๗ ๓๔๔)
มาตรา ๓๓๗ ทำบัญชีส่วนเฉลี่ย
มาตรา ๓๓๘ การบังคับคดีโดยจำเลยขาดนัด ห้ามจัดสรรหรือแบ่งเฉลี่ยเงินจนกว่าจะพ้น ๖ เดือน
มาตรา ๓๓๙ การจ่ายเงินให้แก่เจ้าหนี้ฯ (กรณีมีเจ้าหนี้ฯคนเดียว)
มาตรา ๓๔๐ การจัดทำบัญชีส่วนเฉลี่ย (กรณีมีเจ้าหนี้ฯหลายคน)
มาตรา ๓๔๑ กรณีมีผู้คัดค้านบัญชีส่วนเฉลี่ย
มาตรา ๓๔๒ กรณีเจ้าพนักงานบังคับคดีคำสั่งยืนตามบัญชีส่วนเฉลี่ย ผู้คัดค้านให้คัดค้านต่อศาล
มาตรา ๓๔๓ การเลื่อนการจ่ายส่วนเฉลี่ย และการกันเงินไว้
มาตรา ๓๔๔ การจัดการกับเงินที่เหลือจากการเฉลี่ย
ส่วนที่ ๑๑ เงินค้างจ่าย  (มาตรา ๓๔๕)
มาตรา ๓๔๕ เงินค้างจ่าย
หมวด ๓ การบังคับคดีกรณีที่ให้ส่งคืนหรือส่งมอบทรัพย์เฉพาะ (มาตรา ๓๔๖ ๓๔๙)
มาตรา ๓๔๖ การบังคับคดีให้ส่งคืน/ส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่ง
มาตรา ๓๔๗ ขั้นตอนการบังคับให้ส่งคืน/ส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่ง
มาตรา ๓๔๘ การบังคับให้ส่งคืน/ส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่งที่มีทะเบียน
มาตรา ๓๔๙ ความรับผิดในค่าฤชาธรรมเนียมในการบังคับให้ส่งคืน/ส่งมอบทรัพย์เฉพาะสิ่ง
หมวด ๔ การบังคับคดีในกรณีที่ให้ขับไล่ (มาตรา ๓๕๐ ๓๕๕)
มาตรา ๓๕๐ การบังคับขับไล่/รื้อถอน
ส่วนที่ ๑ การบังคับคดีในกรณีที่ลูกหนี้ตามคำพิพากษาต้องออกไปจากอสังหาริมทรัพย์ ที่อยู่อาศัยหรือทรัพย์ที่ครอบครอง (มาตรา๓๕๑ ๓๕๔)
มาตรา ๓๕๑ การบังคับขับไล่ กรณีไม่มีบุคคลใดอยู่ หรือลูกหนี้ฯไม่ยอมออกไปจากทรัพย์นั้น
มาตรา ๓๕๒ อำนาจเจ้าพนักงานบังคับคดีในการส่งมอบทรัพย์ให้เจ้าหนี้ฯ เข้าครอบครอง
มาตรา ๓๕๓ วิธีปฏิบัติในการขับไล่ลูกหนี้ฯ ที่ไม่ยอมออกจากอสังหาริมทรัพย์
มาตรา ๓๕๔ ผู้ที่ถือว่าเป็นบริวารของลูกหนี้ฯ
ส่วนที่ ๒ การบังคับคดีในกรณีที่ลูกหนี้ตามคำพิพากษาต้องรื้อถอนสิ่งปลูกสร้าง ไม้ยืนต้น ไม้ล้มลุก หรือธัญชาติหรือขนย้ายทรัพย์สินออกไปจากออก ไปจากอสังหาริมทรัพย์ ที่อยู่อาศัยหรือทรัพย์ที่ครอบครอง (มาตรา๓๕๕)
มาตรา ๓๕๕ การบังคับรื้อถอน
หมวด ๕ การบังคับคดีในกรณีที่ให้กระทำการหรืองดเว้นกระทำการ (มาตรา ๓๕๖ ๓๕๙)
มาตรา ๓๕๖ การบังคับคดีกรณีที่ให้กระทำการ/งดเว้นกระทำการ
ส่วนที่ ๑ การบังคับคดีในกรณีที่ให้กระทำการ (มาตรา๓๕๗ ๓๕๘)
มาตรา ๓๕๗ การบังคับให้กระทำการที่ถือเอาคำพิพากษาแทนการแสดงเจตนา
มาตรา ๓๕๘ การบังคับให้กระทำการที่ไม่อาจถือเอาคำพิพากษาแทนการแสดงเจตนา
ส่วนที่ ๒ การบังคับคดีในกรณีที่ให้งดเว้นกระทำการ (มาตรา๓๕๙)
มาตรา ๓๕๙ การบังคับให้งดเว้นกระทำการ
หมวด ๖ การบังคับคดีในกรณีได้มาซึ่งทรัพย์สินมีทะเบียน (มาตรา ๓๖๐)
มาตรา ๓๖๐ การได้มาซึ่งทรัพย์สินมีทะเบียน
หมวด ๗ การบังคับคดีในกรณีที่ขอให้ศาลสั่งจับกุมและกักขังลูกหนี้ตามคำพิพากษา (มาตรา ๓๖๑ ๓๖๕)
มาตรา ๓๖๑ การขอให้ศาลสั่งจับกุมกักขังลูกหนี้ฯ
มาตรา ๓๖๒ ขั้นตอนหลังจากศาลออกหมายจับ
มาตรา ๓๖๓ คำสั่งกักขังจนกว่าจะมีประกัน
มาตรา ๓๖๔ ผู้ประกันจงใจขัดขวางการบังคับคดี
มาตรา ๓๖๕ การจับ ควบคุม กักขัง ไม่ตัดสิทธิดำเนินคดีอาญา
หมวด ๘ การบังคับคดีในกรณีที่มีการประกันในศาล (มาตรา ๓๖๖ ๓๖๗)
มาตรา ๓๖๖ บุคคลผู้เข้าเป็นผู้ประกันในศาล
มาตรา ๓๖๗ สิ่งที่สามารถนามาวางเป็นหลักประกันต่อศาล
ตารางค่าธรรมเนียม
          ตาราง ๑ ค่าธรรมเนียมศาล (ค่าขึ้นศาล)
          ตาราง ๒ ค่าธรรมเนียมศาล (ค่าธรรมเนียมอื่นๆ)
          ตาราง ๓ ค่าสืบพยานหลักฐานนอกศาล
          ตาราง ๔ ค่าป่วยการ ค่าพาหนะ และค่าเช่าที่พักของพยานกับค่ารังวัด ทำแผนที่
          ตาราง ๕ ค่าธรรมเนียมเจ้าพนักงานบังคับคดี
          ตาราง ๖ ค่าทนาย
          ตาราง ๗ ค่าใช้จ่ายในการดำเนินคดี