ภูเก็ตในความเคลื่อนไหว
ขอเชิญร่วมงานเสวนาวิชาการ เรื่อง "เสาหลักต้องเป็นหลักอันศักดิ์สิทธิ : บทบาทศาลท่ามกลางสถานการณ์ทางการเมืองปัจจุบัน" วันพุธที่ 7 ตุลาคม 2563 เวลา 13.00-16.30 น.ณ ห้อง 321 คณะนิติศาสตร์ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์ ท่าพระจันทร์ (อ่านต่อ) |
“วิชา”
ยก 6ข้อ คดี “บอส” กระบวนการยุติธรรมซื้อได้ – คุกขังคนจน
เปิดรายงาน “วิชา” 4 หน้าส่ง “บิ๊กตู่” ปฏิรูปตำรวจ แนบความเห็น 6 ข้อคดี “บอส” อัดกฎหมายมีช่องโหว่ให้เจ้าพนักงานทุจริต นายวิชา มหาคุณ ประธานคณะกรรมการตรวจสอบข้อเท็จจริงและข้อกฎหมายกรณีคำสั่งไม่ฟ้องคดีอาญาที่อยู่ในความสนใจของประชาชน ส่งรายงานผลการตรวจสอบข้อกฎหมายเพื่อนำไปสู่การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรม โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้ (อ่านต่อ) |
ด่วน'อบจ.'เฮสนั่น! ครม.ไฟเขียวประเดิม'เลือกตั้งท้องถิ่น'สนามแรกเดือนธันวาฯ เมื่อวันที่ 6 ต.ค. 63 ที่ทำเนียบรัฐบาล พล.อ.ประยุทธ์ จันทร์โอชา นายกรัฐมนตรีและรมว.กลาโหม กล่าวภายหลังเป็นประธานการประชุมคณะรัฐมนตรี(ครม.) ว่า การประชุมครม.วันนี้ คณะกรรมการการเลือกตั้ง(กกต.) ได้นำเรื่องการเลือกตั้งท้องถิ่นมาพิจารณาร่วมกับครม. ซึ่ง เป็นนโยบายของรัฐบาลอยู่แล้วในเรื่องการจัดการเลือกตั้งท้องถิ่น แต่ที่ผ่านมามีเหตุผลและความจำเป็นทั้งเรื่องสถานการณ์โควิด และเรื่องงบประมาณต่างๆที่ได้เตรียมการไว้ในระดับหนึ่ง โดยส่วนที่มีความพร้อมมากที่สุด (อ่านต่อ)
|
ปกิณกะกฎหมาย
กู้ยืมเงินทางไลน์หรือเฟสบุ๊ก ไม่มีสัญญากู้ยืมเงินเป็นหนังสือ ฟ้องร้องได้หรือไม่ การส่งข้อความแชททางไลน์ เฟสบุ๊ก
อีเมลล์ เป็นการสนทนาผ่านระบบเครือข่ายอินเตอร์เน็ต
ถือว่าเป็นการส่งข้อมูลทางอิเล็กทรอนิกส์ตามพระราชบัญญัติว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์
พ.ศ.2544 ซึ่งตามมาตรา 7 บัญญัติว่า
ห้ามมิให้ปฏิเสธความมีผลผูกพันและการบังคับใช้ทางกฎหมายของข้อความใดเพียงเพราะเหตุที่ข้อความนั้นอยู่ในรูปของข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์
และมาตรา 8 บัญญัติว่า ภายใต้บังคับบทบัญญัติแห่งมาตรา 9
ในกรณีที่กฎหมายกำหนดให้การใดต้องทำเป็นหนังสือ มีหลักฐานเป็นหนังสือ
หรือมีเอกสารมาแสดง
ถ้าได้มีการจัดทำข้อความขึ้นเป็นข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่สามารถเข้าถึงและนำกลับมาใช้ได้โดยความหมายไม่เปลี่ยนแปลง
ให้ถือว่าข้อความนั้นได้ทำเป็นหนังสือ มีหลักฐานเป็นหนังสือหรือมีเอกสารมาแสดงแล้ว ดังนั้น หากมีข้อความที่กู้ยืมเงิน ผู้กู้ กับ
ผู้ให้กู้ ส่งถึงกันทางไลน์ เฟสบุ๊ก อีเมลล์ ฯลฯ ซึ่งมีข้อความว่า
มีการกู้ยืมเงินกัน จะถือว่าเป็นลายมือชื่ออิเล็กทรอนิกส์ตามพระราชบัญญัติ
ว่าด้วยธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2544 ถือว่าข้อความดังกล่าวได้ทำเป็นหนังสือ
มีหลักฐานเป็นหนังสือ ตาม ประมวลกฎหมายแพ่งและพาณิชย์ ม. 653 ซึ่ง บัญญัติว่า
การกู้ยืมเงินกว่าสองพันบาทขึ้นไปนั้น
ถ้ามิได้มีหลักฐานแห่งการกู้ยืมเป็นหนังสืออย่างใดอย่างหนึ่งลงลายมือชื่อ
ผู้ยืมเป็นสำคัญจะฟ้องร้องให้บังคับคดีหาได้ไม่ ดังนั้น เจ้าหนี้ จึงสามารถฟ้องร้องลูกหนี้เรียกเงินกู้คืนได้ โดยใช้ข้อความทางไลน์ เฟสบุ๊กดังกล่าว แทนการลายมือชื่อผู้ยืมในหนังสือ แต่ควรมี แชทข้อความสนทนาว่ากู้ยืมเงินจำนวนเท่าใด กำหนดคืนเมื่อใด ชื่อผู้กู้ยืมหรือ บัญชีผู้ใช้ account ของผู้กู้ หลักฐานการโอนเงินแก่กัน (อ่านต่อ) |
พนักงานสอบสวน มีหมายเรียกให้มาพบ (ไม่ใช่การถูกจับ ไม่เข้ามาตรา 7 วรรคแรก)
เมื่อเข้ามาพบแต่ไม่เจอพนักงานสอบสวน มีนายตำรวจชั้นประทวนแจ้งข้อหาแทน ( 48 ชั่วโมงนับแต่แจ้งข้อหาจึงยัง"ไม่เริ่มนับ"เพราะตัวบทของ ป.วิ.อ. มาตรา 134 กรณีเรื่องการแจ้งข้อหานั้นให้ "พนักงานสอบสวน"เป็นผู้แจ้ง) ข้อสอบหลอกโดยการใช้จุดตัดระหว่างชั้นยศ เพราะ พนักงานสอบสวนต้องเป็นนายตำรวจชั้นสัญญาบัตร ตั้งแต่ ร.ต.ต. ขึ้นไป ดังนั้น ชัดเจนว่าผู้แจ้งข้อหาในคราวแรก "ไม่ใช่" และ "ไม่อาจเป็น"พนักงานสอบสวนได้ และไม่มีประเด็นเรื่องการมอบหมายให้ทำแทนตาม ป.วิ.อ. มาตรา 128เพราะไม่ปรากฎข้อเท็จจริงในข้อสอบว่ามีการมอบหมายการมาตามหมายเรียกก็มิใช่ว่า จะถูกแจ้งข้อหาในวันเวลาดังกล่าว เช่นเดียวกัน การถูกแจ้งข้อหาอาจเป็นการเข้าพบ โดยไม่ต้องมีหมายเรียก ดังนั้น 48 ชั่วโมงจึงนับแต่การมาพบพนักงานสอบสวนเจ้าของคดีในคราวหลัง อัยการมีอำนาจฟ้อง(ข้อสอบอัยการ สนามใหญ่ 2563 ข้อ วิ.แขวง) |
แวดวงศาลยุติธรรม
ประมุขตุลาการหญิงคนเเรกในประวัติศาลยุติธรรม “เมทินี ชโลธร” รองประธานศาลฎีกา ผงาดขึ้น ประธานศาลฎีกาคนที่ 46 นางสาวปิยกุล บุญเพิ่ม ประธานแผนกคดีล้มละลายในศาลฎีกา เป็นประธานศาลอุทธรณ์ / นางวาสนา หงส์เจริญ ประธานแผนกคดีเยาวชนในศาลฎีกา เป็นรองประธานศาลฎีกา ถือเป็นยุคที่ผู้พิพากษาหญิงมีบทบาทสำคัญจริงๆ ที่ประชุม ก.ต. หรือ คณะกรรมการข้าราชการตุลาการ พิจารณาแต่งตั้งสำคัญ โดย นางเมทินี ชโลธร รองประธานศาลฎีกา ได้ขึ้นเป็นประมุขตุลาการคนใหม่ นับเป็นประธานศาลฎีกาคนที่ 46 และเป็นผู้พิพากษาหญิงคนแรกที่ได้ดำรงตำแหน่งนี้ (อ่านต่อ)
|
ประธานศาลฎีกาแถลงผลงาน
1 ปี 'ความยุติธรรม ไม่มีวันหยุด' วันที่ 29 ก.ย. 63 ณ ห้องประชุมใหญ่ สำนักประธานศาลฎีกา นายไสลเกษ วัฒนพันธุ์ ประธานศาลฎีกา แถลงผลการดำเนินงานตามนโยบายของประธานศาลฎีกาตลอด 1 ปี ที่ผ่านมา ภายใต้ชื่องาน “ความยุติธรรม ไม่มีวันหยุด” ซึ่งได้กล่าวถึงผลการดำเนินงานตามนโยบายของประธานศาลฎีกา 5 ประการหลัก (อ่านต่อ) |
พระราชกฤษฎีกากำหนดจำนวน เขตอำนาจ และวันเปิดทำการของศาลแขวงจังหวัดกระบี่ พ.ศ. 2563 และพระราชกฤษฎีกากำหนดจำนวน เขตอำนาจ และวันเปิดทำการของศาลแขวงในจังหวัดตรัง พ.ศ. 2563 กำหนดให้ในจังหวัดกระบี่และจังหวัดตรัง (อ่านต่อ) |
ระงับข้อพิพาทคดีแพ่ง ธุรกิจสินเชื่อ กู้ยืม บัตรเครดิต โดยไม่ต้องเดินทางมาศาล (อ่านต่อ)
|
กฎหมาย ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกาและประกาศสำนักงานศาลยุติธรรมเกี่ยวกับ e-Filing และ CIOS รวบรวมโดยสำนักกฎหมายและวิชาการศาลยุติธรรม (อ่านต่อ)
|
![]() |
(อ่านต่อ) |
![]() ในศาลที่เกี่ยวกับผู้ถูกคุมขังอยู่ในเรือนจำหรือสถานที่กักขังในระหว่างที่มีการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส COVID-19 (อ่านต่อ 1) (2) |
เลขาธิการสำนักงานศาลยุติธรรมและกรรมการผู้จัดการใหญ่ธนาคารกรุงไทย ร่วมแถลงข่าวการยกระดับระบบศาลดิจิทัลสู่ระบบการยื่นคำฟ้องอิเล็กทรอนิกส์ (e-Filing) Version 3 เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการพิจารณาพิพากษาคดี และความสะดวกสบายให้กับผู้ใช้งานมากยิ่งขึ้น โดยทนายความและจำเลยทั่วประเทศ สามารถยื่นคำฟ้องอิเล็กทรอนิกส์ผ่านทางเว็บไซต์ ไม่ต้องเดินทางไปศาล (อ่านต่อ) |
แวดวงทนายความ
สภาทนายความจัดอบรมโครงการทนายความอาสาประจำสถานีตำรวจ เรื่อง บทบาทหน้าที่ของทนายความอาสาประจำสถานีตำรวจ ในการปฏิบัติหน้าที่ร่วมกับเจ้าพนักงานสอบสวน สำหรับหัวข้อในการอบรมมีดังนี้ การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมในชั้นสถานีตำรวจและกฎหมายสำคัญที่เกี่ยวข้องในปัจจุบัน บทบาทหน้าที่ของทนายความอาสาประจำสถานีตำรวจและพนักงานสอบสวน การปฏิบัติหน้าที่ร่วมกันในการช่วยเหลือประชาชนทางกฎหมาย การปฏิรูปกระบวนการยุติธรรมชั้นตำรวจ ปัญหาและอุปสรรคในการปฏิบัติงานในโครงการทนายความอาสาประจำสถานีตำรวจ และการฝึกทักษะประสบการณ์สำหรับทนายความอาสา (อ่านต่อ)
|
![]() ![]()
ยื่นฟ้องคดีผ่านทางออนไลน์
ศาลยุติธรรมออกข้อกำหนดของประธานศาลฎีกา
ว่าด้วยการยื่น ส่งและรับคำคู่ความและเอกสารทางระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ.2560
และประกาศสำนักงานศาลยุติธรรม เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการยื่น ส่ง
และรับคำคู่ความและเอกสารทางระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์
เพื่อรองรับการนำระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์ หรือ e-Filing System มาใช้บริการประชาชนในการยื่นคำคู่ความผ่านระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์
โดยศาลที่นำร่องเปิดให้บริการในขณะนี้ อาทิ ศาลแพ่ง ศาลแพ่งกรุงเทพใต้
ศาลแพ่งธนบุรี ศาลจังหวัดภูเก็ต ศาลแขวงภูเก็ต ในคดีซื้อขาย เช่าทรัพย์ จำนอง จำนำ
ค้ำประกัน กู้ยืมเงิน เช่าซื้อ และบัตรเครดิต
ข้อกำหนดของประธานศาลฎีกา ว่าด้วยการยื่น ส่ง และรับคำคู่ความและเอกสาร ทางระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์ พ.ศ. 2560 (อ่าน)
ประกาศสำนักงานศาลยุติธรรม
เรื่อง หลักเกณฑ์และวิธีการยื่น ส่ง และรับคำคู่ความและเอกสารทางระบบรับส่งอิเล็กทรอนิกส์
(อ่าน)
คู่มือระบบการยื่นและส่งคำคู่ความและเอกสารโดยสื่ออิเล็กทรอนิกส์
สำหรับทนายความ (อ่าน)
|
แวดวงอัยการ
ระเบียบสำนักงานอัยการสูงสุดว่าด้วยการดำเนินคดีอาญาของพนักงานอัยการ พ.ศ. 2563 ซึ่งอัยการสูงสุดได้ลงนามและมีผลใช้บังคับตั้งแต่วันที่ 1 ตุลาคม 2563 (อ่านต่อ) |
![]() |
![]() นำเทคโนโลยีมาใช้ในการปฏิบัติงานเพื่อป้องกันการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)ให้ข้าราชการฝ่ายอัยการทั่วประเทศ ถือปฏิบัติอย่างเคร่งครัด ดังนี้ (อ่านต่อ) |
![]() สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรค โควิท 19 |
นิติทัศน์
![]()
เมื่อกล่าวถึงหัวข้อดังกล่าว อาจจะมีความรู้สึกว่าเป็นเรื่องที่เข้าใจยาก แต่เมื่อทราบถึงรายละเอียดในความหมาย กฎเกณฑ์และวิธีการในเรื่องนี้แล้ว จะเห็นว่าเป็นเรื่องที่เข้าใจได้ง่ายมาก ข้อสำคัญอยู่ที่ว่าเมื่อเข้าใจแล้วจะปฏิบัติหรือไม่ เท่านั้น(อ่านต่อ)
|
บางคนอาจไม่เข้าใจว่าทนายความกับพระจะมีอุดมคติเสมอกันได้อย่างไร ขอบอกกล่าวอย่างสั้น ๆ กันว่า พระก็ดี ทนายความก็ดี มีอุดมคติเหมือนกันตรงที่ ใช้ความรู้ช่วยผู้ที่ไม่มีความรู้ ขอให้ดูเถิดว่ามันตรงกันหรือไม่ตรงกัน ซึ่งเดี๋ยวก็จะได้พูดกันให้มากกว่านี้ อาตมายินดีที่ได้พบกับผู้ที่มีอุดมคติตรงกันอย่างนี้
(อ่านต่อ) |
กล่าวกันว่า"ความยากจน" เป็น "สถานภาพ" ประการหนึ่งที่สังคมกำหนดขึ้นภายหลังให้แก่ผู้คนที่มีลักษณะเฉพาะกลุ่มหนึ่ง เช่นเดียวกับสถานภาพการเป็นผู้กระทำผิดกฎหมาย สถานภาพการเป็นผู้นำประเทศ ฯลฯ ที่ถูกกำหนดโดยหลักเกณฑ์กลไกทางสังคมชุดหนึ่งๆ และมีกฎระเบียบรองรับความมีอยู่จริงของสถานภาพนั้น (อ่านต่อ)
|